Edit 10 อาหารดี ของคนอายุ 40 ปีขึ้นไป 10 อาหารดี ของคนอายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อเราอายุมากขึ้นระบบต่างๆ ในร่างกายก็เริ่มทำงานไม่เหมือนช่วงที่เรายังเป็นหนุ่มสาว บทความนี้เราเลยจะขอนำเสนอ 10 อาหารดี ของคนอายุ 40 ปีขึ้นไป จะมีอาหารอะไรบ้างนั้นไปอ่านพร้อมๆ กันเลยค่ะ วัยทองเป็นช่วงรอยต่อระหว่างวัยกลางคนและวัยสูงอายุ ในช่วงอายุ 40-45 ปีขึ้นไป ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะมีการสร้างฮอร์โมนเ พ ศลดลง ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเจ้าตัวและคู่สมรส ตลอ ดจนบุคคลอื่นในครอบครัวและสังคม ในผู้ชายวัยทอง การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากฮอร์โมนเ พ ศชายที่เรียกว่า เทสโตสเตอโรน ไม่ได้ลดลงอย่ างเฉียบพลัน ในทางตรงกันข้าม วัยทองหรือวัยหมดประจำเดือนของผู้หญิง เป็นช่วงเวลาที่สิ้นสุดการมีประจำเดือนแล้ว เพราะรังไข่หยุดทำงาน ทำให้มีการผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ทำให้ผู้หญิงวัยนี้บางรายเกิดกลุ่มอาการ ไม่สุขสบาย เรียกว่า ‘กลุ่มอาการหมดประจำเดือน’ เช่น มีอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออ กในเวลากลางคืน นอนไม่หลับหรือหลับย าก อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย หลงลืมง่าย มีอาการเ จ็ บเวลามีเ พ ศสั ม พั นธ์ ฯลฯ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในระยะย าว เมื่อเราอยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป จะเป็นช่วงวัยที่ย่ างเข้าสู่วัยกลางคน ซึ่งในช่วงวัยนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายหล า ยประการ ดังนี้ อาการท้ องอื ด ตัวเตี้ยลง อาการป ว ดไขข้อ 65% สายต า – ย าว มีความต้องการทางเ พ ศลดลง 75 – 85% มีปัญหาเรื่องการได้ยิน ขนน้อยลงหรือมีขนขึ้นในที่ที่ไม่ต้องการ ขี้หลงขี้ลืม มีอาการท้องผูกมากขึ้น มีปัญหาเรื่องของริ้วรอย สำหรับคนในช่วงวัย 40 ขึ้นไปนั้น เป็นวัยที่ต้องยอมรับความจริงว่าเราไม่ใช่หนุ่มสาวแล้ว ร่างกายของคนเราเปรียบเสมือนรถยนต์ ซึ่งหากใช้งาน มากก็จะทำให้เสื่อมสภาพลงอย่ างรวดเร็ว ดังนั้น คนในวัย 40 ปีขึ้นไป ควรดูแลตัวเองให้มีสุขภาพกายใจให้สดใสแข็งแรงอยู่เสมอ และวันนี้เราคำแนะนำจากคุณหมอและนักโภชนาการต่าง ๆ ได้ชี้ให้เห็นว่า อาหารอะไรควรที่จะกินคือ 1. กล้วยน้ำว้า กินวันละ 2 ลูก นำไปปิ้งไฟทั้งเปลือ กจะช่วยในเรื่องของการลดไข้ แก้เ จ็ บคอ บำรุงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับตับอ่อน รักษาอาการต่าง ๆ อย่ างเช่นเบา หวาน ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับต่อมทอนซิลอักเสบ 2. กล้วยไข่ กินบ่อย ๆ จะช่วยเรื่องของการหยุดผมหลุดร่วง ป้องกันเกี่ยวกับความจำไม่ดี อัลไซเมอ บำรุงเกี่ยวกับสมอง ตับและไต อีกทั้งยังช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งต่าง ๆ ได้อีกด้วย ช่วยบำรุงกะดูก บำรุงเกี่ยวกับสายต า การมองเห็น 3. จิบน้ำร้อนเป็นประจำ จะช่วยปรับสมดุลเกี่ยวกับอุณหภูมิในร่างกาย ช่วยลดความดันโลหิตได้ ลดเส้นโลหิตสมองตีบต่างๆ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเบา หวาน ต้อที่ต า บำรุงสายต าและไ ต 4. ดื่มน้ำแตงโมบ่อยเป็นประจำ เรียกได้ว่าเป็นผลไม้บำรุงร่างกายอย่ างดีเยี่ยม หากผู้ชายกินบ่อย ๆ จะช่วยส่ งเสริมในเรื่องของสมรรถภาพทางร่างกายได้เป็นอย่ างดี ทำให้มีกำลังวังชา ช่วยบำรุงโลหิตทำให้ไหลเวียนได้ดีขึ้น ช่วยแก้ปัญหามือเท้าชา 5. กินทุเรียนบ่อย ๆ ในทุเรียนนั้นมีแอนตี้ออ กซิแดนท์ กำมะถัน จะช่วยในเรื่องของการลดมะเร็ง ลดระดับคอเลสเตอรอล อีกทั้งยังช่วยลดไขมัน ลดหน้าแก่ได้อีกด้วย 6. น้ำมะพร้าวอ่อน ดื่มบ่อย ๆ จะช่วยปรับสมดุลฮอโมนให้กับร่างกาย ดื่มน้ำมะพร้าวอ่อนวันละ 1 ลูกจะช่วยฟอ กโลหิตและบำรุงไตได้ ส่วนเนื้อมะพร้าวนั้นจะช่วยเกี่ยวกับการบำรุงตับ 7. แกนสับปะรด มีเอนไซม์บรอมีเลน โดยมีสรรพคุณที่ช่วยในเรื่องของการสมานแผล ช่วยทำให้ระบบขับถ่ายดี ช่วยลดปัญหาการอักเสบของกระเพาะอาหาร 8. น้ำกะทิ เราเอาน้ำกะทิใส่ถุงแช่ตู้เย็นไว้ 3 ชั่ วโมง เพื่อที่จะให้เนื้อและตัวน้ำแยกชั้นกัน นำเนื้อมะพร้าวส่วนบนไปเคี่ยวจนกล า ยเป็นน้ำมัน มะพร้าวสามารถเก็บไว้ใช้ได้นาน 3 เดือน 9. ไข่ต้ม กินวันละ 2 ฟองจะช่วยลดระดับปริมาณน้ำต าลในโลหิตได้ มีงานวิจัยของฮาร์วาร์ดพบว่า หากบริโภคไข่ต้มวันละ 3 ฟอง สำหรับคนที่อายุต่ำกว่า 45 ปี และบริโภควันละ 2 ฟองสำหรับคนที่อายุประมาณ 45-50 ปี จะมีสรรพคุณมากกว่าการดื่มน ม 5 กล่อง 10. กาแฟ มีคาเฟอีน ที่มีประโยชน์ช่วยในเรื่องของการกระตุ้นการทำงานของร่างกาย ดื่มกาแฟวันละ 1-2 แก้วโดยไม่ใส่น้ำต าล ถ้าต่างประเทศได้มีงานวิจัยออ กมาว่าจะช่วยทำให้สมองรู้สึกปลอ ดโปร่ง รู้สึกกระชุ่มกระชวย มีไอเดียมีความคิดในการสร้างสรรค์งาน มากกว่าคนที่ไม่ดื่มกาแฟเลย ข้อแ นะ นำก ารกิ นอา หาร เพิ่มเติม เพื่อสุข ภาพที่ ดีค นวัย ทอง 1 ล ด ก ารกินไข มัน อย่ าใ ห้ เกิ นร้อ ยละ 30 ขอ ง พลั ง ง าน ที่ได้ รับ ต่อวัน โด ยลดไ ข มั น จากสั ต ว์ หลีกเลี่ยงอาหา รแปรรู ปที่มีไขมั นพวกกรดไขมัน เช่น มาร์การีน เนยขๅว โ ดนัต มันฝ รั่งท อ ด เลือ กใ ช้น้ำมันที่มี ก รดไ ข มันไม่ อิ่มตั วเชิงเดี่ยวสูง เช่น น้ำมัน มะ กอ ก น้ำ มัน รำข้า ว น้ำ มันงา 2 กินผัก ผลไม้ ถั่ว โดยเฉพาะถั่วเหลือง เช่น เต้าหู้หลอ ด เต้าหู้แผ่น และธัญพืช เป็นประจำ 3 เพิ่มการกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าว ธัญพืช 4 กินอาหารให้หลากหล า ย กินปลา ถั่วเมล็ดแห้ง เต้าหู้ ลดปริมาณเนื้อแดงที่บริโภคลง 5 ดื่มน มพร่องไขมัน 6 ลดอาหารเค็ม ดื่มน้ำสะอาดวันละ 1-2 ลิตร 7 ไม่ควรงดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง 8 รักษาน้ำหนักตัวให้เหมาะสม แหล่งที่มา = buriramguru / mgronline ขอขอบคุณ แนวกิน, newlifepowerchange