Home »
Uncategories »
รู้ก่อนปลอดภัยก่อน ปวดท้องน้อยไม่ใช่เรื่องเล็ก
รู้ก่อนปลอดภัยก่อน ปวดท้องน้อยไม่ใช่เรื่องเล็ก
รู้ก่อนปลอดภัยก่อน ปວดท้องน้อยไม่ใช่เ รื่ อ งเล็ก
อาการปວดท้องน้อยเรื้อรังพบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายมาก
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโครงสร้างทางร่ า
งกายที่เอื้อต่อการเกิດความผิดปกติที่ทำให้เกิດอาการปວดอีกทั้งยังมีอวัยวะและระบบการทำงานของร่
า
งกายที่เอื้อต่อการเกิດการปວดท้องน้อยเรื้อรังได้อีกด้วยโดยทั่วไปการปວดท้องน้อยเรื้อรังเป็นอาการปວดบริเวณเชิงกราน
ท้องน้อยหรือบริเวณใกล้เคียงเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า6เดือน ผู้ป่ ว
ยหลายรายไม่สามารถประกอบภารกิจได้ตามปกติจากอาการปວด
หลายคนต้องลาออกจากงานเพราะเมื่อมีอาการปວดไม่สามารถบรรเทาได้ด้วยย
าแก้ปວดตามปกติทั่วไปอีกทั้งยังมีความผิดปกติทางด้านจิตใจติดตามมาเช่น
มีอาการซึมเ ศ ร้ าหรืออารมณ์แปรปรวน
อาการปວดท้องน้อยเรื้อรังมีลักษณะที่แตกต่างกันในผู้ป่
ว ยแต่ละรายขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง เช่น พย
าธิสภาพของอวัยวะที่ทำให้เกิດอาการปວด
หากเป็นอวัยวะด้านระบบสืบพันธุ์สตรีอย่างเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ก็จะมีอาการปວดเหมือนการปວดประจำเดือนแต่อาการปວดจะรุ
นแร งกว่า
หากอาการปວดเกี่ยวข้องกับกระเพาะปัสสาวะก็จะเกี่ยวข้องกับการถ่าย-การอั้นปัสสาวะผู้ป่
ว ยจะถ่ายปัสสาวะบ่อยมากและปວดมากบางรายถ่ายปัสสาวะวันละ40-50ครั้ง
หากอาการปວดมาจากลำไส้ก็อาจจะมีอาการความผิดปกติในการขับถ่ายอุจจาระด้วยหรือหากปວดจากกล้ามเนื้อก็อาจจะปວดไปตามแนวกล้ามเนื้อนั้นและมักจะรู้สึกได้ว่าปວดตรงจุดไหน
จะเห็นได้ว่าอาการปວดท้องน้อยเรื้อรังเป็นกลุ่มอาการที่เกิດได้จากหลายสาเหตุอาการที่พบบ่อยเช่น
กระเพาะปัสสาวะอักเสบแบบรุ นแร
งซึ่งการอักเสบนี้ไม่ได้เกิດจากเชื้แบคทีเรียเหมือนการอักเสบโดยทั่วไปแต่เกิດจากน้ำปัสสาวะซึมผ่านเข้าสู่ชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะทั้งนี้กระเพาะปัสสาวะตามปกติจะมีเยื่อเมือกบางคลุมอยู่มีส่วนในการป้องกันไม่ให้ปัสสาวะซึมเข้าสู่ผนังกระเพาะปัสสาวะเพราะเกลือแร่ต่าง
ในปัสสาวะจะส่งผลให้มีปฏิกิริย ารุ นแร
งมากทำให้เกิດการปວดอาการปວดจากสาเหตุนี้มักจะมีอาการปัสสาวะบ่อยร่วมด้วยและปວดมากเมื่ออั้นปัสสาวะจะทุเลาลงบ้างเมื่อถ่ายปัสสาวะเสร็จ
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ที่มีเยื่อบุโพรงมดลูกมาเกาะอยู่นอกมดลูกในบริเวณเชิงกรานเช่น
ผนังด้านนอกกระเพาะปัสสาวะ เยื่อบุช่องท้อง ผนังลำไส้ก็ทำให้มีอาการปວด
เมื่อมีการคั่งของเยื่อบุซึ่งจะเกี่ยวข้องกับวงรอบของฮอร์โมนสาเหตุอื่นที่พบได้
เช่น การอักเสบของลำไส้ใหญ่ กล้ามเนื้อเชิงกรานอักเสบ
ข้อต่อต่างบริเวณเชิงกรานอักเสบ
หรือแม้แต่ก้อนนิ่วบริเวณท่อไตส่วนล่างก็ทำให้มีอาการปວดร้าวลงมาที่เชิงกรานและท้องน้อยได้
วิธีการวินิจฉัย
ภาวะปວดท้องน้อยเรื้อรังส่วนมากผู้ป่ ว
ยจะได้รับการพบแพทย์มาก่อนซึ่งแพทย์จะทบทวนการตรวจวินิจฉัยผลตรวจต่าง
ผลเอ็กซเรย์ย าที่ได้รับในอดีตว่ามีอะไรบ้าง การผ่า ตั ดบริเวณหลัง
ท้องน้อย เชิงกรานต่างเพราะอาจจะเกี่ยวข้องด้วยโ ร
คนั้นเองหรืออาจจะเป็นอาการข้างเคียง เช่นเกิດเนื้อเยื่อพังผืด
คำถามต่างที่แพทย์จะถามซึ่งผู้ป่ ว
ยควรจะทบทวนและลำดับเหตุการณ์ให้ดีก่อนเพราะจะช่วยในการวินิจฉัยได้มากเวลาที่มีอาการปວด
อาการปວดเริ่มบริเวณใด
ร้าวไปบริเวณใดมีกิจกssมหรือเหตุการณ์อะไรทำให้ปວดมากเช่น กลั้นปัสสาวะ มีเ
พ ศ สัมพันธ์เป็นต้น
อาการปວดเกี่ยวข้องกับรอบเดือนหรือไม่
การเดิน การก้าวขา
ทำให้ปວดมากขึ้นหรือไม่ที่ผ่านมามีอะไรช่วยบรรเทาปວดบ้างหรือไม่รับประทานอาหารอะไรแล้วทำให้ปວดมากขึ้นแพทย์จะทำการตรวจร่
า งกายโดยละเอียดตรวจภายใน ตรวจทางทวารหนัก สำรวจหาจุดปວด
ตรวจเอ็กซเรย์อัลตร้าซาวด์ ตรวจปัสสาวะ ส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ
หลังจากได้รวบรวมผลต่างแล้ว
หากได้การวินิจฉัยก็จะให้การรั กษ
าไปตามจุดเช่น หากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ก็จะให้การรั กษ
าทางฮอร์โมนหากพบว่ากระเพาะปัสสาวะมีการอักเสบรุ นแร งดังกล่าวก็จะให้ย
าระงับอาการปວดร่วมกับการใช้ย าใส่ในกระเพาะปัสสาวะแต่ผู้ป่ ว
ยส่วนมากจะยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโดยทันที
ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลาสักระยะหนึ่งแต่แพทย์จะต้องระงับปວดก่อน
บางครั้งต้องให้ย าแก้ปວดที่มีฤnธิ์แรงร่วมกับย
ากล่อมประสาทเพราะหลายครั้งที่อาการปວดจะถูกประทับในสมองทำให้มีอาการปວดเกิດขึ้นมาเองได้สิ่งที่ผู้ป่
ว
ยจะสามารถช่วยแพทย์ได้คือจะต้องสังเกตว่ามีเหตุใดที่กระตุ้นให้มีอาการปວดรุ
นแร งขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีที่ปວดจากเหตุของกระเพาะปัสสาวะที่จะต้องหลีกเลี่ยงอาหารหลายชนิดที่ทำให้ปัสสาวะมีความเป็นกรดมากจำพวกเนย
สารปรุงรส อาหารรสจัดและประการสำคัญ อย่าเปลี่ยนแพทย์ผู้รั กษ
าเร็วเกินไปเพราะหลายโ ร คไม่สามารถรั กษ าหายภายในเร็ววันได้โ ร
คบางชนิดอาจจะไม่มีย ารั กษ
าโดยเฉพาะแต่สามารถแก้ปัญหาจนอาการปວดลุล่วงได้และหลายรายอาจจะต้องใช้การผ่า
ตั ด ดังนั้นผู้ป่ ว ยที่มีอาการปວดท้องน้อยเรื้อรังที่ยังไม่ได้พบแพทย์
เฉพาะด้านหรืออาจจะหมดหวังกับการรั กษ าก็ควรมาพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและรั
กษ าต่อไป
ขอบคุณแหล่งข่าว:bit.ly/2We22jl