7 ข้อ เตือนใจเด็กจบใหม่ อ ย่ าเริ่มใช้ชีวิตด้วยหนี้สิน
1 เรามีหนี้การศึกษาที่สูงขึ้นมาก
แม้ เ ด็ ก จบใหม่ในยุคนี้ จะเริ่มทำงานด้วย ฐานเงินเดือนที่สูง
แต่สิ่งที่สูงตามก็คือ ค่าเล่าเรียนโดยเฉพาะ ในระดับมหา วิ ท ย า ลัย
ที่แม้แต่ ม ห า วิ ท ย า ลัยรัฐก็ไม่ได้มีค่าหน่วยกิต น่ารักๆ เหมือนรุ่นพ่อรุ่นแม่
เ ด็ ก จบใหม่ที่เพิ่งเริ่มทำงาน จึงมีภาระหนี้การศึกษาตั้งแต่ ยังไม่เริ่มเก็บเงินซื้อบ้านด้วยซ้ำ
2 ต้องเก็บเงินนานกว่าแต่ก่อนเพื่อซื้อบ้าน
ราคาบ้านในสมัยนี้ ต้องบอกว่าแพงขึ้นกว่า แต่ก่อนจนน่าตกใจ
และมีแนวโน้มที่ จะแพงมากขึ้นเรื่อยๆ จึงไม่น่าแปลกใจว่า เ ด็ ก จบใหม่ ต้องเผชิญหน้า
กับการเก็บเงินที่ หนักหนาสาหัสกว่ าแต่ก่อนเพื่อซื้อบ้าน
3 ต้องกันเงินไว้ไม่น้อยเพื่อเป็นค่าเช่าบ้าน
ในอดีตรุ่นพ่อรุ่นแม่นั้น การเช่าบ้านอยู่ถือเป็นทางเลือก หนึ่งของการใช้ชีวิต
แบบที่ไม่ต้องเก็บ เงินก้อนใหญ่ไว้ซื้อบ้าน แต่สำหรับ เ ด็ ก จบใหม่นั้น
แม้แต่ค่าเช่าบ้านก็แพงขึ้น จนแทบ อ ย า ก จะตัดใจซื้อบ้านแทน
4 หนทางสู่ความร่ำรวยไม่ใช่เรื่องง่าย
แม้จะเป็นกลุ่มจบใหม่ที่เป็นช่วงเปลี่ยน ผ่ า น จากยุคอะนาล็อกสู่ ยุคดิจิทัลแต่กลุ่มมิลเลนเนียล
ก็ต้องเผชิญหน้ากับยุค วิกฤตการณ์ทางการเงินอยู่บ่อยครั้ง หนทางสู่ความร่ำรวย
โดยปราศจากมรดกจาก รุ่นพ่อรุ่นแม่จึง ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย
5 ค่าใช้จ่ายในการดูแลพ่อแม่
ค่า รั ก ษ า พ ย า บ า ล ค่าครองชีพ ค่าอุปโภค บริโภค มีแต่แนวโน้มที่จะสูงขึ้น
การดูแลพ่อแม่ในยุคนี้ จึงต้องใช้เงินไม่น้อย ยิ่งจำนวนการมีลูกที่ลดลง
จึงมีครอบครัวจำนวนไม่น้อย ที่มิลเลนเนียลหนึ่งคนต้อง ดูแลทั้งพ่อและแม่
หรืออาจพ่วงปู่ ย่ า ตา ย า ย เข้ามาด้วย
6 พึ่งพ่อแม่ทางด้านการเงินมากเกินไป
ด้วยสภาวะ การแข่งขันที่สูง และงานที่หา ย า ก มากขึ้น
ทำให้มี เ ด็ ก จบใหม่ไม่น้อย ที่กลายเป็น เ ด็ ก ไม่รู้จักโต ได้แต่แบมือขอเงินพ่อแม่
และมักจะจัดการ ปัญหาการเงิน ของตัวเองไม่ได้
7 ต้องเก็บเงินมากขึ้นเพื่อรอเกษียณ
เมื่อ 20 ปีที่แล้ว มีเงิน 5 ล้าน ก็ถือว่ามากจนอาจจะ เพียงพอที่จะใช้ชีวิตหลังเกษียณ
ไปอีกสัก 10 หรือ 20 ปี แต่ในปัจจุบันเงินล้านนั้น ต้องมีเป็น 10 ล้าน เป็น อ ย่ า ง ต่ำ
หากคิดจะใช้ชีวิต หลังเกษียณ อ ย่ า ง สุขสบาย
ขอขอบคุณที่มา aanplearn