คืนบ้างก็ได้ ให้ยืม ไม่ใช่ให้ทาน

โดนใจชาวเน็ตเต็ม “ให้ยืม ไม่ใช่ให้ทาน คืนกันบ้างก็ได้” ผล ก ร ร ม ที่ตามทัน

ยืมเงินแล้วไม่คืน บทความให้ดูถ่ายทอดลงบนเพจ Dungtrin โดย ดังตฤณ หรือ ศรันย์ ไมตรีเวช นักคิดนักเขียนแนวธรรมะสุดโด่งดัง ที่เป็นเจ้าของผลงานดีมากมายหลายอย่าง ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงขณะหนึ่ง

และทางด้านล่าสุดเขาให้เขียนหัวข้อไว้ว่า ยืมเงินแล้วไม่คืน จะได้รับผล ก ร ร ม อย่างไร

ผล ก ร ร ม ของการยืมเงินแต่ละคนนั้นไม่เหมือนกัน จะแปรเปลี่ยนไปตามเจตนารมณ์ของผู้ที่ยืม บางคนยืมแล้วแต่มีเจตนาที่จะไม่คืน บางคนก็ยืมแล้วแต่ยังไม่มีที่จะคืนจริง ผล ก ร ร ม นั้นย่อมแตกต่างกันออกไป บางคนก็ผลัดไปเรื่อย ผลัดแล้วผลัดอีก ไม่มีเงินคืน แต่มีรูปร้านอาหารหรู เที่ยวต่างประเทศได้ ตรงนี้ก็ไม่เข้าใจตรรกะความคิดของคนที่ยืมเงินเหมือนกัน

แต่ในทางธรรมคือหากถ้าเรายกหนี้ให้เขา ถือว่าเป็นการสร้างบุญให้กับตัวเรา ให้ลองตั้งคำถามดูว่า สมควรที่จะโกรธตัวเองหรือไม่ที่ให้เขายืมเงิน ลองไปอ่ า นเนื้อหาเต็มเลยฉบับนี้ก็ได้เลยครับ

ยืมเงินแล้วไม่คืน

ผลอาจไม่เหมือนกัน

ต้องดูที่ตัว ก ร ร ม ของแต่ละคน

เมื่อรู้ว่า ก ร ร ม เป็นอย่างไร

ก็จะพออนุมานถูกว่า

ผล ก ร ร ม น่าจะประมาณไหน

รูปแบบของ ก ร ร ม

แปรไปตามเจตนา

รวมทั้งความสามารถ

ที่จะทำให้สำเร็จตามเจตนาด้วย เช่น

บางคนยืมด้วยความตั้งใจคืน

อาจมีข้อสัญญาชัดเจนว่า

จะคืนเมื่อใด ให้หรือไม่ให้ดอกเบี้ย

แล้วคืนได้ตามนั้นพร้อมของแถมตามข้อตกลง

ผลที่เกิดขึ้นทันที

คือความผูกพันในทางดี

เป็นที่น่าเชื่อถือสำหรับกันและกัน

ฝ่ายให้ ถือว่าได้บุญที่ให้โอกาส

ฝ่ายรับ ถือว่าได้บุญที่ได้ทำตามที่พูด

มีความสุข มีความเป็นผู้ใหญ่ด้วยกันทั้งคู่

บางคนยืมด้วยการตั้งใจคืน

เสร็จแล้วคืนไม่ได้ ชนิดสุดวิสัย

อ ย่า ง นี้ไม่ได้ตั้งใจ โ ก ง

ไม่ได้ผิดศีลข้อ ๒

แต่ผลที่เกิดขึ้นทันทีในชาติปัจจุบัน

คือ ความทรมานใจ

การข า ดความนับถือตัวเอง

และการไม่เป็นที่น่าเชื่อถือของคนอื่น

ส่วนผลในชาติถัดไปก็พอสมน้ำสมเนื้อ

เช่นที่ให้เงินใครยืมแล้วไม่ได้คืน

เพราะเหตุสุดวิสัยของลูกหนี้ เป็นต้น

บางคนยืมด้วยความตั้งใจเรื่อยมาเรียง

ไม่ ฟั น ธง ไม่แน่ใจว่าจะคืนเมื่อไร

คิดเผื่อไว้ แผ่วว่า เดี๋ยวมีมากค่อยให้

แบ บนี้เหมือนก้ำกึ่ง

เพราะทำไปมีสิทธิ์พลิกจาก ‘เดี๋ยวจะคืน’

เป็น ‘ไม่คืนดีกว่า’ เอาได้ง่าย

ถึงจุดหนึ่งคนพวกนี้จะลืมความสัมพันธ์เก่าหมด

พอเห็นตัวเลขในบัญชีที่คืนได้

แต่เกิดความเสียดาย

ความตระหนี่เข้าครอบงำจิตใจ

รู้สึกขึ้นมาว่าอยู่ในบัญชีกุ แปลว่าเงินกุ

เ รื่ อ งอะไรจะให้มันหายไปอยู่ในมือคนอื่น

ความสำคัญมั่นหมายว่า ‘ของกุ’

ทั้งที่ไม่ใช่นั่นแหละ

คือมุขเด็ดที่กิเลสบงการให้ก่อบาปกันดื้อ

ผลทันทีคือมีจิตอ่อนแอ คิดอะไรแบบเด็ก

อยู่บนเส้นทางของคนเหลวไหล

ข้างหน้าจึงสมควรกับชะตาที่ดูเหลวไหลไร้เหตุผล

วันหนึ่งเหมือนมีทรัพย์ที่ยั่งยืน

อีกวันกลับมลายหายไปราวกับความฝัน เป็นต้น

บางคนยืมด้วยความตั้งใจไม่คืนตั้งแต่แรก

แต่มาหว่านล้อมล่อหลอกว่าจะคืน

พร้อมดอกเบี้ยมหาศาลบานตะไท

ที่มายืมตรงนี้ก็เพียงเพราะ

อย า กประชดแบงก์ที่กู้ย ากกู้เย็นนัก

อันนี้ผิดศีลข้อ ๒ เต็ม

เพราะขึ้นต้นด้วยเจตนาถือเอาทรัพย์

ที่เจ้าของมิได้ยกให้

และการผิดแบ บนี้แถมพกข้อ ๔ มาด้วย

ฉะนั้น ในที่ที่ ก ร ร ม เผล็ดผล

โ ท ษ สถานเบาในโลกมนุษย์

คือต้องเหมารวมทั้งผลของ

การผิดข้อ ๒ และ ๔ รวมกันสองกระทง

ผลของข้อ ๒ คือเป็นผู้มีทรัพย์พินาศด้วยเหตุ ร้ า ย

ผลของข้อ ๔ คือเป็นผู้ถูกหลอก ลวง ถูกใส่ ร้ า ย

พูดง่ายว่า มีสิทธิ์เสียทั้งทรัพย์

เสียทั้งชื่อเสียง ด้วยการถูกใส่ ร้ า ย ใส่ไคล้

หรือถูกต้มตุ๋น ล่อ ลวง ได้สารพัด

แต่ข้อเท็จจริง เป็นเช่นที่พระพุทธเจ้าตรัส

คือ คน โก หก เป็นนิตย์

ที่จะทำ ชั่ ว อะไรไม่ได้นั้นไม่มี

ยิ่งถ้ามาถึงขั้นโกหกเพื่อเชิดเงินคนอื่นได้

ทำให้เขาเดือด ร้อนหน้าตาเฉยได้

ก็แปลว่าต้องทำ บ า ป ร้ า ย กาจได้หนักกว่านี้ไปเรื่อย

ฉะนั้น โทษทัณฑ์ที่แท้จริง

ก่อนจะมีสิทธิ์ได้กลับมาเป็นมนุษย์

จึงน่ากลัวกว่าที่เราเห็นกันขณะเป็นมนุษย์

ในฐานะคนถูก โ กง

ก็ต้องระลึกด้วยว่า

เกมก ร ร ม ยังไม่จบ

คนถูกโกงก็ต้องมี ก ร ร ม ในขั้นต่อไป

เมื่อทวงแล้วไม่คืน

เมื่อฟ้องแล้วไม่สำเร็จ

(เพราะมักไม่มีสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรกัน)

ที่สุดก็เหลือ ก ร ร ม ทางใจ

จะคุมแค้น อย า กลงมือแก้ แ ค้น ให้หาย เ จ็ บ ใจ

หรือจะเลือกเชื่อว่านี่เป็นโอกาสดี

ชาตินี้ได้รู้จักศาสนาที่สอนเ รื่ อ งเหตุและผล

ทำเหตุอย่างไรมา ก็ต้องได้ผลอย่างนั้นบ้าง

รู้แล้วเราจะเลือกต่อ เ ว ร หรือหยุด เ ว ร

ทางโลกเหมือนยกให้เขาได้เงินไปฟรี

แต่ทางธรรมคือยกหนี้ ก ร ร ม ให้เขารับไปแบกแทน

ในเมื่อมีตัวตัวแทนมารับช่วงถึงที่

เราสมควรแค้นเคืองหรือขอบคุณ

ขอขอบคุณ : Dungtrin