รีบเลยนะสำหรับคนที่ว่างงาน กรณีคนตกงาน ลาออก
สามารถรับเงินประกันสังคมได้สูงสุดเดือนละ 7500 บาทเลยทีเดียว
โดยมีรายละเอียดและวิธีขั้นตอนดังต่อไปนี้
สำหรับพนักงานที่ทำงานประจำและมีการส่งประกันสังคม แต่ต่อมาได้เกิดกรณีการว่างงาน หลังจากนี้ให้คุณไปที่สำนักงานประกันสังคมเพื่อทำการกรอกเอกสารและรอรับเงินชดเชยจากกรณีที่คุณได้ลาออกหรือได้ถูกจ้างออก วิธีการหรือขั้นตอนตามสิทธิของคุณนั้นมีดังต่อไปนี้
2. ถูกเลิกจ้าง ลาออก หรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง โดยไม่มีความผิดตามกฎหมาย
3. ต้องไปขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วันนับแต่วันที่ว่างงาน (หากยื่นสิทธิเกินกว่า 30 วัน จะไม่ได้รับสิทธิย้อนหลัง)
ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
เช่น
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 5,000 บาท หรือ
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 40,000 บาท จะได้รับเพียงเดือนละ 7,500 บาท(คิดจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท)
2. กรณีลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง
ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
ส่วนกรณี ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 3,000 บาท หรือ
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 60,000 บาท จะได้รับเงินเพียงเดือนละ 4,500 บาท (คิดจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท)
ทั้งนี้ผู้ประกันตนยังสามารถใช้สิทธิประกันสังคมต่อได้อีก 6 เดือน หลังจากลาออกโดยมิต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใดๆ
2. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนา
3. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป
4. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก
เมื่อคุณสมบัติครบถ้วน ให้นำหลักฐานไปยื่นได้ที่สำนักงานจัดหางานของรัฐที่ไหนก็ได้ที่สะดวก สำนักงานประกันสังคมก็จะทำการโอนเงินทดแทนการขาดรายได้ตามสิทธิให้ผู้ประกันตน ผ่านทางบัญชีธนาคารเดือนละ 1 ครั้ง และได้รับไปจนกว่าจะมีงานทำหรือครบสิทธิตามกำหนดที่กล่าวไว้ข้างต้น
สำหรับใครที่ยังมีคำถามหรือมีข้อสงสัยบางประการ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน 1506 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือที่เวปไซต์ของสำนักงานประกันสังคม ที่มีการอธิบายรายละเอียดไว้อย่างครบถ้วนแล้ว
เงินประกันสังคมที่คุณจ่ายไปไม่สูญเปล่าแน่นอน หากวันนั้นมาถึง อย่าลืมไปแสดงตัวเพื่อใช้สิทธิกันด้วยนะคะ อย่างน้อยก็จะได้มีเงินมาจุนเจือครอบครัว หรือเก็บเป็นเงินก้อนไว้ลงทุนสร้างเนื้อสร้างตัวในอนาคตก็ได้
2. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
3. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)
4. หนังสือรับรองการออกจากงานหรือสำเนาแบบแจ้งการลาออกจากงานของผู้ประกันตนออกจากงานของผู้ประกันตน (สปส. 6 -09) กรณีที่ไม่มีสำเนา สปส.6-09 ก็สามารถไปขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานได้
5. หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากงาน (ถ้ามี)
6. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ประกันตน ผ่าน 11 ธนาคาร ดังนี้
1. ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)
2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน)
3. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน)
4. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน)
5. ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
6. ธนาคารทหารไทย จำกัด(มหาชน)
7. ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
8. ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)
9. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
10. ธนาคารออมสิน (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)
11. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)
สำหรับพนักงานที่ทำงานประจำและมีการส่งประกันสังคม แต่ต่อมาได้เกิดกรณีการว่างงาน หลังจากนี้ให้คุณไปที่สำนักงานประกันสังคมเพื่อทำการกรอกเอกสารและรอรับเงินชดเชยจากกรณีที่คุณได้ลาออกหรือได้ถูกจ้างออก วิธีการหรือขั้นตอนตามสิทธิของคุณนั้นมีดังต่อไปนี้
หลักเกณฑ์ที่จะทำให้คุณได้สิทธิ ได้แก่
1. ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคมมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน2. ถูกเลิกจ้าง ลาออก หรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง โดยไม่มีความผิดตามกฎหมาย
3. ต้องไปขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วันนับแต่วันที่ว่างงาน (หากยื่นสิทธิเกินกว่า 30 วัน จะไม่ได้รับสิทธิย้อนหลัง)
สิทธิที่จะได้รับเมื่อว่างงาน แบ่งเป็น 2 กรณี คือ
1. กรณีถูกเลิกจ้างได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
เช่น
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 5,000 บาท หรือ
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 40,000 บาท จะได้รับเพียงเดือนละ 7,500 บาท(คิดจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท)
2. กรณีลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง
ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
ส่วนกรณี ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 3,000 บาท หรือ
ถ้าผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 60,000 บาท จะได้รับเงินเพียงเดือนละ 4,500 บาท (คิดจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท)
ทั้งนี้ผู้ประกันตนยังสามารถใช้สิทธิประกันสังคมต่อได้อีก 6 เดือน หลังจากลาออกโดยมิต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใดๆ
เมื่อคุณเป็นคนหนึ่งที่ต้องการใช้สิทธิ จะต้องเตรียมหลักฐานต่างๆให้พร้อมเพื่อใช้ขอรับประโยชน์ทดแทน ดังต่อไปนี้
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน (สปส. 2-01/7)2. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนา
3. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป
4. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก
เมื่อคุณสมบัติครบถ้วน ให้นำหลักฐานไปยื่นได้ที่สำนักงานจัดหางานของรัฐที่ไหนก็ได้ที่สะดวก สำนักงานประกันสังคมก็จะทำการโอนเงินทดแทนการขาดรายได้ตามสิทธิให้ผู้ประกันตน ผ่านทางบัญชีธนาคารเดือนละ 1 ครั้ง และได้รับไปจนกว่าจะมีงานทำหรือครบสิทธิตามกำหนดที่กล่าวไว้ข้างต้น
สำหรับใครที่ยังมีคำถามหรือมีข้อสงสัยบางประการ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วน 1506 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง หรือที่เวปไซต์ของสำนักงานประกันสังคม ที่มีการอธิบายรายละเอียดไว้อย่างครบถ้วนแล้ว
เงินประกันสังคมที่คุณจ่ายไปไม่สูญเปล่าแน่นอน หากวันนั้นมาถึง อย่าลืมไปแสดงตัวเพื่อใช้สิทธิกันด้วยนะคะ อย่างน้อยก็จะได้มีเงินมาจุนเจือครอบครัว หรือเก็บเป็นเงินก้อนไว้ลงทุนสร้างเนื้อสร้างตัวในอนาคตก็ได้
ในส่วนหลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน กรณีว่างงาน
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน (สปส. 2-01/7)2. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
3. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)
4. หนังสือรับรองการออกจากงานหรือสำเนาแบบแจ้งการลาออกจากงานของผู้ประกันตนออกจากงานของผู้ประกันตน (สปส. 6 -09) กรณีที่ไม่มีสำเนา สปส.6-09 ก็สามารถไปขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานได้
5. หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากงาน (ถ้ามี)
6. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ประกันตน ผ่าน 11 ธนาคาร ดังนี้
1. ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)
2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน)
3. ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน)
4. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน)
5. ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
6. ธนาคารทหารไทย จำกัด(มหาชน)
7. ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
8. ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)
9. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
10. ธนาคารออมสิน (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)
11. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) (ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากอยู่ในระหว่างการปรับปรุงโปรแกรม)
ขอขอบคุณ
- สำนักงานประกันสังคม