เป็นที่รู้กันว่าโรคที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นจำนวนมากในแต่ละปีถ้าไม่นับโรคมะเร็งแล้ว
ก็ต้องยกให้โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันและโรคหลอดเลือดสมองตีบ
แม้ยาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาโรคทั้งสองจะมีประสิทธิภาพดี แต่ก็มีผลข้างเคียงมากเช่นกัน ผู้ที่รักสุขภาพจึงหันมานิยมยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ที่ปลอดภัยหาง่าย และมีประสิทธิภาพในการรักษาไม่แพ้กัน
สูตรลดไขมันในเลือด
กระเจี๊ยบ + พุทราจีน + มะตูมแห้ง
วิธีทำ
1. นำกระเจี๊ยบ + พุทราจีน + มะตูมแห้ง จำนวนให้เท่ากัน
2. ล้างให้สะอาด นำใส่หม้อเติมน้ำ 3 ลิตรต้ม
3. ต้มประมาณ 20 นาที แล้วยกลงกรองกากทิ้ง
4. เติมน้ำตาลทรายแดงเล็กน้อย
5. ดื่มได้ทั้งร้อนและเย็น
สรรพคุณ
1. ลดไขมันในหลอดเลือด (ซึ่งเป็นไขมันตัวที่ทำให้หลอดเลือดตีบ)
2. ป้องกันเส้นเลือดในสมองตีบ
3. ล้างหินปูนที่เกาะในสมอง
4. ช่วยแก้อาการสมองเสื่อม
5. ลดความดันโลหิตสูง
6. ช่วยในเรื่องเซลล์ประสาทปลายนิ้วชา
7. ทำให้ผนังหลอดเลือดยืดหยุ่นได้
8. ช่วยไม่ให้หลอดเลือดเปราะแตกง่าย
9. ช่วยบรรเทาอาการเส้นเลือดขอด
10. ช่วยลดอาการของหัวใจโต
ประโยชน์ของกระเจี๊ยบแดง
1. กระเจี๊ยบมีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) และสารโพลีฟีนอล ซึ่งได้แก่ Protocatechuic Acid ที่มีฤทธิ์ต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยชะลอความแก่ และช่วยให้เส้นเลือดอ่อนนิ่มได้
2. กระเจี๊ยบใช้ทำเป็นน้ำดื่มที่ช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น เนื่องจากมีกรดซิตริกอยู่ด้วย
3. ใบอ่อนของกระเจี๊ยบใช้รับประทานเป็นผักได้ หรือจะนำมาใช้ทำแกงส้มก็ได้ ให้รสเปรี้ยวกำลังดี และยังมีวิตามินเอสูง (12,583 I.U. ต่อ 100 กรัม) ที่ช่วยบำรุงสายตาอีกด้วย
4. กลีบเลี้ยงผลและกลีบดอกอุดมไปด้วยแคลเซียมที่ช่วยบำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง
5. กระเจี๊ยบแดงจัดเป็นพืชส่งออกโดยนำไปใช้เป็นส่วนผสมสำคัญสำหรับ Herbal tea และใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้บริโภคภายในประเทศ ใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างหลากหลาย เช่น ผลิตภัณฑ์ชาชง กระเจี๊ยบแดงอบแห้ง กระเจี๊ยบแดงแคปซูล เครื่องดื่มต่างๆ ใช้ในอุตสาหกรรมสีผสมอาหาร หรือใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ แยม เยลลี่ เบเกอรี ไอศกรีม ไวน์ น้ำหวาน ซอส เป็นต้น รวมไปถึงในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง เช่น โลชัน ครีมกระเจี๊ยบแดง เจลอาบน้ำ ครีมขัดผิว เป็นต้น
6. น้ำต้มของดอกแห้งจะมีกรดผลไม้หรือ AHA อยู่หลายชนิดในปริมาณสูง จึงมีการนำมาผลิตเป็นเครื่องสำอางประเภทครีมหน้าใส
7. เมนูดอกกระเจี๊ยบแดง เช่น แกงส้มดอกกระเจี๊ยบ ยำดอกกระเจี๊ยบ แยมดอกกระเจี๊ยบ ดอกกระเจี๊ยบแช่อิ่ม กระเจี๊ยบกวน ชากระเจี๊ยบแดง น้ำกระเจี๊ยบแดง เป็นต้น
8. ในแอฟริกาใต้มีการใช้น้ำมันจากเมล็ดเป็นยารักษาแผลให้อูฐ
9. นอกจากนี้ลำต้นของกระเจี๊ยบแดงยังสามารถนำมาทำเป็นเชือกปอได้อีกด้วย
ประโยชน์ของพุทราจีน
1. ประโยชน์พุทราจีน ช่วยลดผลข้างเคียงของกรดซิตริกในกระเจี๊ยบแดง เมื่อใช้ทำน้ำกับกระเจี๊ยบแดง (ผล)[1]
2. ใช้ประกอบในอาหารต่าง ๆ หรือนำไปแปรรูป เมนูพุทราจีน เช่น พุทราจีนแห้ง พุทราจีนเชื่อม น้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน แกงจืดเห็ดหูหนูพุทราจีน ไก่ตุ๋นพุทราจีน พุทราจีนทอด ถั่วเขียวต้มพุทราจีน พุทราจีนต้มหัวหอม ไข่ต้มเก๋ากี้พุทราจีน ฯลฯ
ประโยชน์ของมะตูม
1. ผลสามารถนำมารับประทานได้ทั้งแบบสดและแบบแห้ง
2. สามารถนำมาใช้ทำเป็นเครื่องดื่มได้ด้วยการนำผลมะตูมไปผสมกับมะขาม
3. เมื่อกรองได้น้ำและนำมาเติมน้ำตาลจะได้เครื่องดื่มที่มีรสชาติคล้ายกับ “มะนาว”
4. ใบอ่อนของมะตูมนำมารับประทานเป็นผักสลัดได้
5. หรือจะนำใบอ่อนมาใช้กินกับน้ำพริกหรือลาบก็ได้
6. ผลแก่แต่เปลือกยังนิ่ม เมื่อนำมาฝานสามารถนำมาทำเป็นมะตูมเชื่อมได้
7. มะตูมใช้เป็นส่วนผสมของขนมหลายชนิด
8. มะตูมสุกมีเนื้อเละสามารถนำมารับประทานเป็นผลไม้ได้
เพิ่มเติม 4 เครื่องดื่มสมุนไพร ลดไขมันอุดตันในเส้นเลือด
1. กระเจี๊ยบแดง
กลีบเลี้ยงหรือกลีบรองดอกสีม่วงแดงของกระเจี๊ยบตากแห้ง นำมาบดเป็นผง ชงครั้งละ 1 ช้อนชา ในน้ำเดือด 1 แก้ว กรองดื่มเฉพาะน้ำสีแดงใส วันละ 3 ครั้ง
2. กะเพรา
ต้มใบและยอดกะเพราสด 1 กำมือ ในน้ำสะอาดจนเดือด พักไว้ให้เย็น ดื่มแทนน้ำตลอดวัน
3. ดอกเก๊กฮวย
ต้มดอกเก็กฮวย 1 หยิบมือ ในน้ำสะอาด 3 แก้ว ดื่มระหว่างวัน
4. ขิง
คั้นขิงแก่สดให้ได้น้ำขิงครึ่งถ้วย ต้มกับน้ำสะอาด 2 ถ้วย ดื่มวันละ 3 ครั้ง
อย่าลืมว่า ควรดื่มแบบธรรมชาติไม่ต้องเติมน้ำตาลจะดีต่อสุขภาพที่สุดค่ะ
ขอบคุณที่มาจาก : ธรรมทานวัดหนองรั้ว
แม้ยาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาโรคทั้งสองจะมีประสิทธิภาพดี แต่ก็มีผลข้างเคียงมากเช่นกัน ผู้ที่รักสุขภาพจึงหันมานิยมยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ที่ปลอดภัยหาง่าย และมีประสิทธิภาพในการรักษาไม่แพ้กัน
สูตรลดไขมันในเลือด
กระเจี๊ยบ + พุทราจีน + มะตูมแห้ง
วิธีทำ
1. นำกระเจี๊ยบ + พุทราจีน + มะตูมแห้ง จำนวนให้เท่ากัน
2. ล้างให้สะอาด นำใส่หม้อเติมน้ำ 3 ลิตรต้ม
3. ต้มประมาณ 20 นาที แล้วยกลงกรองกากทิ้ง
4. เติมน้ำตาลทรายแดงเล็กน้อย
5. ดื่มได้ทั้งร้อนและเย็น
สรรพคุณ
1. ลดไขมันในหลอดเลือด (ซึ่งเป็นไขมันตัวที่ทำให้หลอดเลือดตีบ)
2. ป้องกันเส้นเลือดในสมองตีบ
3. ล้างหินปูนที่เกาะในสมอง
4. ช่วยแก้อาการสมองเสื่อม
5. ลดความดันโลหิตสูง
6. ช่วยในเรื่องเซลล์ประสาทปลายนิ้วชา
7. ทำให้ผนังหลอดเลือดยืดหยุ่นได้
8. ช่วยไม่ให้หลอดเลือดเปราะแตกง่าย
9. ช่วยบรรเทาอาการเส้นเลือดขอด
10. ช่วยลดอาการของหัวใจโต
ประโยชน์ของกระเจี๊ยบแดง
1. กระเจี๊ยบมีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) และสารโพลีฟีนอล ซึ่งได้แก่ Protocatechuic Acid ที่มีฤทธิ์ต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยชะลอความแก่ และช่วยให้เส้นเลือดอ่อนนิ่มได้
2. กระเจี๊ยบใช้ทำเป็นน้ำดื่มที่ช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น เนื่องจากมีกรดซิตริกอยู่ด้วย
3. ใบอ่อนของกระเจี๊ยบใช้รับประทานเป็นผักได้ หรือจะนำมาใช้ทำแกงส้มก็ได้ ให้รสเปรี้ยวกำลังดี และยังมีวิตามินเอสูง (12,583 I.U. ต่อ 100 กรัม) ที่ช่วยบำรุงสายตาอีกด้วย
4. กลีบเลี้ยงผลและกลีบดอกอุดมไปด้วยแคลเซียมที่ช่วยบำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง
5. กระเจี๊ยบแดงจัดเป็นพืชส่งออกโดยนำไปใช้เป็นส่วนผสมสำคัญสำหรับ Herbal tea และใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้บริโภคภายในประเทศ ใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์ได้อย่างหลากหลาย เช่น ผลิตภัณฑ์ชาชง กระเจี๊ยบแดงอบแห้ง กระเจี๊ยบแดงแคปซูล เครื่องดื่มต่างๆ ใช้ในอุตสาหกรรมสีผสมอาหาร หรือใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ แยม เยลลี่ เบเกอรี ไอศกรีม ไวน์ น้ำหวาน ซอส เป็นต้น รวมไปถึงในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง เช่น โลชัน ครีมกระเจี๊ยบแดง เจลอาบน้ำ ครีมขัดผิว เป็นต้น
6. น้ำต้มของดอกแห้งจะมีกรดผลไม้หรือ AHA อยู่หลายชนิดในปริมาณสูง จึงมีการนำมาผลิตเป็นเครื่องสำอางประเภทครีมหน้าใส
7. เมนูดอกกระเจี๊ยบแดง เช่น แกงส้มดอกกระเจี๊ยบ ยำดอกกระเจี๊ยบ แยมดอกกระเจี๊ยบ ดอกกระเจี๊ยบแช่อิ่ม กระเจี๊ยบกวน ชากระเจี๊ยบแดง น้ำกระเจี๊ยบแดง เป็นต้น
8. ในแอฟริกาใต้มีการใช้น้ำมันจากเมล็ดเป็นยารักษาแผลให้อูฐ
9. นอกจากนี้ลำต้นของกระเจี๊ยบแดงยังสามารถนำมาทำเป็นเชือกปอได้อีกด้วย
ประโยชน์ของพุทราจีน
1. ประโยชน์พุทราจีน ช่วยลดผลข้างเคียงของกรดซิตริกในกระเจี๊ยบแดง เมื่อใช้ทำน้ำกับกระเจี๊ยบแดง (ผล)[1]
2. ใช้ประกอบในอาหารต่าง ๆ หรือนำไปแปรรูป เมนูพุทราจีน เช่น พุทราจีนแห้ง พุทราจีนเชื่อม น้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน แกงจืดเห็ดหูหนูพุทราจีน ไก่ตุ๋นพุทราจีน พุทราจีนทอด ถั่วเขียวต้มพุทราจีน พุทราจีนต้มหัวหอม ไข่ต้มเก๋ากี้พุทราจีน ฯลฯ
ประโยชน์ของมะตูม
1. ผลสามารถนำมารับประทานได้ทั้งแบบสดและแบบแห้ง
2. สามารถนำมาใช้ทำเป็นเครื่องดื่มได้ด้วยการนำผลมะตูมไปผสมกับมะขาม
3. เมื่อกรองได้น้ำและนำมาเติมน้ำตาลจะได้เครื่องดื่มที่มีรสชาติคล้ายกับ “มะนาว”
4. ใบอ่อนของมะตูมนำมารับประทานเป็นผักสลัดได้
5. หรือจะนำใบอ่อนมาใช้กินกับน้ำพริกหรือลาบก็ได้
6. ผลแก่แต่เปลือกยังนิ่ม เมื่อนำมาฝานสามารถนำมาทำเป็นมะตูมเชื่อมได้
7. มะตูมใช้เป็นส่วนผสมของขนมหลายชนิด
8. มะตูมสุกมีเนื้อเละสามารถนำมารับประทานเป็นผลไม้ได้
เพิ่มเติม 4 เครื่องดื่มสมุนไพร ลดไขมันอุดตันในเส้นเลือด
1. กระเจี๊ยบแดง
กลีบเลี้ยงหรือกลีบรองดอกสีม่วงแดงของกระเจี๊ยบตากแห้ง นำมาบดเป็นผง ชงครั้งละ 1 ช้อนชา ในน้ำเดือด 1 แก้ว กรองดื่มเฉพาะน้ำสีแดงใส วันละ 3 ครั้ง
2. กะเพรา
ต้มใบและยอดกะเพราสด 1 กำมือ ในน้ำสะอาดจนเดือด พักไว้ให้เย็น ดื่มแทนน้ำตลอดวัน
3. ดอกเก๊กฮวย
ต้มดอกเก็กฮวย 1 หยิบมือ ในน้ำสะอาด 3 แก้ว ดื่มระหว่างวัน
4. ขิง
คั้นขิงแก่สดให้ได้น้ำขิงครึ่งถ้วย ต้มกับน้ำสะอาด 2 ถ้วย ดื่มวันละ 3 ครั้ง
อย่าลืมว่า ควรดื่มแบบธรรมชาติไม่ต้องเติมน้ำตาลจะดีต่อสุขภาพที่สุดค่ะ
ขอบคุณที่มาจาก : ธรรมทานวัดหนองรั้ว