แจกสูตร เครื่องดื่มลด “ไขมันหน้าท้อง” 5 กก. ในเวลา 3 วัน ทำง่ายแถมอร่อยด้วย

 


แจกสูตร เครื่องดื่มลด “ไขมันหน้าท้อง” 5 กก. ในเวลา 3 วัน ทำง่ายแถมอร่อยด้วย

พาร์สลีย์ สำหรับบางคนแล้วนั้นอาจจะไม่เคยได้ยินชื่อนี้ ทะเลมันเป็นผักใบเล็กสีเขียวขอบเป็นรอยหยักๆ มีต้นและใบที่แข็งแรงเหนียวและมีกลิ่นหอมแบบเฉพาะตัว เราจะเห็นกันบ่อยๆตามร้านอาหารที่เขาเอาไว้สำหรับตกแต่งโรยหน้า

เริ่มคุ้นๆกันแล้วใช่ไหมครับ กับพาร์สลีย์ ที่เอาไว้โรยหน้า

ส่วนผสมเครื่องดื่มน้ำลดไขมัน

1. น้ำบริสุทธิ์ 2 ถ้วย

2. มะนาว 1ลูก หรือตามความชอบ

3. ก้านพาร์สลีย์

วิธีทำเครื่องดื่ม

1. หั่นก้านพาร์สลีย์เป็นชิ้นเล็กๆ

2. ใส่ลงในเครื่องปั่นและใส่น้ำและน้ำมะนาวลงไป

3. จากนั้นปั่นผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน

วิธีดื่ม

1. ดื่มเครื่องดื่มนี้ทันทีเมื่อทำเสร็จ และคุณควรดื่มมันในตอนเช้าขณะท้องว่าง

2. เราขอแนะนำให้คุณดื่มเครื่องดื่มนี้ 5 วันติดกันจากนั้นให้หยุดพัก 10 วัน

ประโยชน์ของสารอาหาร ที่จะได้รับ

1. พาร์สลีย์อุดมไปด้วยวิตามิน A, วิตามินบีและวิตามินซี

2. ช่วยเร่งการเผาผลาญอาหารและช่วยเพิ่มการทำงานของระบบย่อยอาหาร

3. นอกจากนี้ยังช่วยลดน้ำหนัก และช่วยจัดการกับปัญหาประจำเดือนมาไม่ปกติ อีกทั้งยังช่วยล้างพิษในร่างกายได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของหัวใจได้ดียิ่งขึ้น

4. เมล็ดมีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 7.5 กรัม นำมาแช่กับน้ำร้อนนาน 5-10 นาที ใช้ดื่มก่อนอาหารเช้าและเย็น (เมล็ด)

5. ทั้งต้นและเมล็ดมีรสเผ็ดร้อน มีกลิ่นหอม ใช้เป็นยาขับเสมหะและละลายเสมหะ (เมล็ด, ทั้งต้น)

6. ช่วยแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน (เมล็ด, ทั้งต้น)

7. ใบมีสรรพคุณเป็นยาแก้อาการสะอึก (ใบ)

8. เมล็ดและทั้งต้นมีสรรพคุณเป็นยาช่วยขับลมในท้อง แก้อาการจุกเสียด ช่วยในการย่อยอาหาร (เมล็ด, ทั้งต้น)

9. ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ (เมล็ด, ทั้งต้น)

10. ช่วยทำให้มดลูกของสตรีหลังคลอดบุตรเข้าอู่เร็วขึ้น (เมล็ด, ทั้งต้น)

11. ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดตามข้อเนื่องจากลมชื้นเกาะติด (เมล็ด, ทั้งต้น)

12. ใบใช้ตำพอกแก้อาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้ำดำเขียว (ใบ)

ขนาดและวิธีใช้ : การใช้ตาม ให้ใช้ต้นแห้งหรือผลประมาณ 10-20 กรัม ส่วนต้นสดให้ใช้ 30-50 กรัม และเมล็ดให้ใช้ 5-10 กรัม นำมาต้มกับน้ำรับประทาน หรือใช้ร่วมกับตัวยาอื่น ๆ ในตำรับยาตามต้องการ

เรียบเรียงโดย : Postsara

ขอขอบคุณ : หนังสือสารานุกรมสมุนไพรไทย-จีน ที่ใช้บ่อยในประเทศไทย. (วิทยา บุญวรพัฒน์). “เทียนเยาวพาณี”. หน้า 278.