ไม่เคยรู้มาก่อน เจอ pete ทานเสร็จให้ทิ้งไม่แนะนำให้กรอกน้ำมากินใหม่นะครับ
หยิบขวดน้ำพลาสติก หรือภาชนะพลาสติกที่บ้านคุณขึ้นมา
แล้วพลิกก้นมันดู จะเห็นว่ามี ตัวย่อ แบบต่างๆอยู่
ขวดน้ำทั่วไป จะเขียนเป็น PET หรือ PETE
ซึ่งมันคือ พลาสติกโพลีเอทิลีนเทอพาทาเลท
– ที่มา : ฐานข้อมูลความปลอดภัยการใช้สารเคมี
http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=13
– ผลิตภัณฑ์พลาสติกกับอาหาร
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/thai/knowledgeinfo.php…
http://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate
“Toxicity of PET: Commentary published in Environmental Health Perspectives in April 2010 suggested that PET might yield endocrine disruptors under conditions of common use and recommended[14] research on this topic. Proposed mechanisms include leaching of phthalates as well as leaching of antimony.”
ขอขอบคุณบทความดีๆจาก
หยิบขวดน้ำพลาสติก หรือภาชนะพลาสติกที่บ้านคุณขึ้นมา
แล้วพลิกก้นมันดู จะเห็นว่ามี ตัวย่อ แบบต่างๆอยู่
ขวดน้ำทั่วไป จะเขียนเป็น PET หรือ PETE
ซึ่งมันคือ พลาสติกโพลีเอทิลีนเทอพาทาเลท
(Polyethylene Terephthalate)
“ออกแบบมาให้ใช้ได้แค่ครั้งเดียว” ขวดบรรจุน้ำดื่มเหล่านี้ออกแบบมาเพื่อใช้เพียงครั้งเดียว ไม่ได้ออกแบบมาสำหรับให้นำมาทำความสะอาดใหม่โดยใช้ความร้อนสูงหรือขัดถูแล้วนำมาใช้ซ้ำ จะมีสารอะซิทัลดิไฮด์ ซึ่งเป็นสารที่องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริการะบุว่าเป็นสารที่อาจก่อให้เกิดมะเร็งในคนรวมทั้งอาจเป็นส่งผลลบต่อพัฒนาการทางสมองครับ– ที่มา : ฐานข้อมูลความปลอดภัยการใช้สารเคมี
http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=13
– ผลิตภัณฑ์พลาสติกกับอาหาร
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/thai/knowledgeinfo.php…
http://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate
“Toxicity of PET: Commentary published in Environmental Health Perspectives in April 2010 suggested that PET might yield endocrine disruptors under conditions of common use and recommended[14] research on this topic. Proposed mechanisms include leaching of phthalates as well as leaching of antimony.”
ขอขอบคุณบทความดีๆจาก
- คุณ Porramate Chumyim