บอกลางานประจำ ชวนสามีกลับบ้านนอกปลูกหน่อไม้ขายได้เดือนละ 7 หมื่น

สวัสดีจ้าพ่อแม่พี่น้องชาวเพจปริญญาชีวิต วันนี้แอดมีเรื่องมาเล่าให้ฟังด้วยแหล่ะ คือพอดีไปเจอเรื่องนี้มาจากเส้นทาง เ ศ ร ษ ฐีอีกทีนะ เป็นเรื่องราวของสองสามีภรร ย า คู่หนึ่ง เห็นเค้าเล่าว่า เงินเดือนรวมกันเฉียดแสนเลย (เยอะเหมือนกันแห่ะ)

ทั้งทำงานในเมืองกรุงสักระยะหนึ่งจนมีเงินเก็บเป็นกอบเป็นกำ ก็คงจำนวนหนึ่งแหล่ะ พอเป็นต้นทุนตั้งตัวได้ และตัดสินใจบอกลาชีวิตมนุษย์เงินเดือนที่แสนจะเคร่งเครียดกลับบ้านนอกที่จังหวัดอุดรฯ ออกเดินทางตามหาความวัน ด้วยการลงมือสร้างสวนไผ่แห่งความสุขจำนวนถึง 9 ไร่ เก็บหน่อไป ข า ย ได้วันละ 3O กิโล แต่ไม่ใช่ ข า ย หน่อไม้อย่างเดียวนะ

แม่บอกว่า ข า ย หน่อไม้ กี่ปีถึงจะรวย ฮ่าๆ ไม่รวยหรอกค่ะ เพราะสองสามีภรร ย า นี้เค้าจายกิ่งพันธุ์ด้วยอ่ะ คนซื้อเยอะมาก ร า ย ไ ด้ ตกเดือนละ 7.5 หมื่น

พูดมาแล้วก็เปรี้ยวปาก เพื่อนๆ ชอบกินไหม ปริญญาชอบมากๆเลยค่ะ ทำงาน กทม. เหมือนกัน เวลาพ่อกับแม่มาหาแต่ละครั้งจะไม่เคยลืมพก หมกหน่อไม้ แกงหน่อไม้ หน่อไม้ต้มมาฝากเลย เอามายัดไว้เต็มตู้เย็น กินได้เป็นเดือนๆ ประหยัดไปอีกเยอะมากๆ (พอๆ เข้าเรื่องของเค้าดีกว่า เล่าเรื่องตัวเองเฉยเลย)

คุณโบว์ และคุณสิงห์ สองสามีภรร ย า ฝ่ายสามีเคยทำงานด้านคอมพิวเตอร์ 14 ปี เงินเดือนราว 6หมื่นบาท ส่วนตัวเองทำธุรกิจส่วนตัว ข า ย งานศิลปะตุ๊กตาปูนปลาสเตอร์ระบายสี และกระเป๋าผ้าลดโลกร้อน รวม ร า ย ไ ด้ 2 คน ต่อเดือนก็เกือบ 1 แสนบาท (ไม่แปลก พนักงานไอทีเดี๋ยวนี้เงินเดือนเป็นแสนๆ ใครไม่เชื่อก็แล้วแต่ แต่รุ่นพี่ของปริญญาทำงานในบ.ซอฟแวร์แห่งหนึ่งเงินเดือน 1.3 แสน ไม่ได้โม้นะเอ้อออออ)

อย่างไรก็ตาม แม้ ร า ย ไ ด้ จะดีแค่ไหน แต่ภรร ย า ในวัย 37 ปี บอกว่า ไม่ได้ชื่นชอบวิถีชีวิตในกรุงเทพฯ ตรงกันข้ามวางแผนบั้นปลายชีวิตไว้ว่า อ ย า กมีครอบครัวที่อบอุ่น อ ย า กเลี้ยงลูกเอง และที่สำคัญอ ย า กประกอบ อ า ชี พ อิสระ นี่คือ แรงบันดาลใจ ที่ทั้งคู่ผันตัวมาเป็นเกษตรกร และโบกมือบ๊ายบาย กทม. กลับไปอยู่อุดรธานี บ้านเฮา

แต่ทั้งคู่เค้าวางแผนก่อนนะ ไม่ใช่ว่าผลีผลามมีเงินแล้วก็ออกไปทำเลย ช่วงที่ทำงาน ทั้งคู่นำเงินเก็บค่อยๆ ซื้อที่ดินสะสมเรื่อยมา ที่ ต.บ้านขาว อ.เมือง จ.อุดรธานี ราว 1O ปี มีที่ดิน 80 ไร่ ตอนแรกยังไม่ได้ปลูกไผ่ แต่ปลูกอ้อย 5O ไร่

“ตอนแรกที่ตัดสินใจปลูกอ้อยเพราะเห็นว่าคนแถวบ้านปลูกอ้อย ข า ย ได้ราคาดี เลยจ้างคนมาปลูกบ้าง แต่ปรากฏว่าขาดทุน

ดูเหมือนว่าการปลูก “อ้อย” จะไปได้ดี แต่คุณโบว์ บอกว่า “อ้อย” ทำ ร า ย ไ ด้ ให้เพียงปีละครั้ง เลยคิดจะปกลูกพืชอย่างอื่นที่สามารถทำเงินได้ตลอดทั้งปี

และคนอีสานชอบทาน นั่นคือ “หน่อไม้”

ก็ลงมือศึกษาหาข้อมูลด้านเกษตร ดูตามอินเตอร์เน็ต ดูในเฟซบุ๊ค ไปศึกษาดูงานตามสถานที่ต่างๆ กระทั่งเมื่อประมาณปี 54 เริ่มปลูกไผ่

เพราะได้ต้นพันธุ์ไผ่กิมซุงมาฟรี ตรงนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นที่เข้าสู่ อ า ชี พ เกษตรกรอย่างจริงจัง

สำหรับชนิดไผ่ที่คุณโบว์ปลูก อาทิ

รายละเอียดไผ่แต่ละสายพันธุ์ เจ้าของสวน อธิบายคร่าวๆ ว่า

ไผ่กิมซุง กินน้ำเยอะ ใบเยอะ ใบหนา ต้องการน้ำเยอะ ฉะนั้นจะเก็บ ข า ย ช่วงฤดูฝน ไผ่สายพันธุ์นี้รสชาติออกขม ต้องต้มน้ำทิ้งก่อนจะ ข า ย ข า ย ราคากิโลกรัมละ 2O บาท

ไผ่สาละวิน กินน้ำน้อย รสชาติออกขม ต้องต้มน้ำร้อนก่อน ข า ย 3O นาที เมนูเด็ดทำซุบหน่อไม้ แกงส้ม แกงเปรอะ หน่อไม้ดอง ราคา ข า ย กิโลกรัมละ 5O บาท

ไผ่บงหวานเพชรน้ำผึ้ง นิยมทานสด ไม่ขม ปรุงได้หลายเมนู อาทิ ส้มตำไผ่บงหวาน ข า ย กิโลกรัมละ 8O-1OOบาท

สวนไผ่แห่งความสุขนี้ เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อต้นปี 2557 ร า ย ไ ด้ แต่ละเดือน 7-7.5 หมื่นบาท แบ่งเป็น ร า ย ไ ด้ จากการ ข า ย หน่อไม้และ ข า ย กิ่งพันธุ์ไผ่

ขอบคุณที่มา ดวงกมล โลหศรีสกุล, เส้นทาง เ ศ ร ษ ฐี article_984O6